ผลงานการวิจัย
1.การพัฒนาต้นแบบกายอุปกรณ์เสริมชนิด Carbon Fiber HKAFO: Adjustable design ในประเทศไทย
The development of prototype of Adjustable design Carbon Fiber Hip Knee Ankle Foot Orthosis in Thailand
2. การติดตามผลของการฟื้นฟูทักษะการฟัง ภาษาและการพูดในเด็กที่ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม ใน ๔ ภูมิภาค
The follow up result of audio verbal and language rehabilitation in the child with cochlear implant at 4 Regions
3.ประสิทธิผลของการฝึกเดินด้วยเครื่องฝึกการทรงตัวบนลู่เดิน และการฝึกเดินด้วยวิธีกายภาพบำบัดแบบดั้งเดิมที่มีผลต่อการทรงตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Effectiveness of Perturbation treadmill training and conventional gait training on balance control in stroke patients: Randomized control trial
4.ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการในการใช้รถนั่งคนพิการของผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
Effectiveness a self-efficacy enhancement program on using wheelchair of spinal cord injury in Sirindhorn National Medical Rehabilitation Institute
5.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ของสถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
Factor Affecting Quality of life among Stroke Patients of Sirindhorn National Rehabilitation Institute (SNMRI)
6.การทดสอบการใช้งานทางการแพทย์ของข้อเข่าเทียมแบบสี่จุดหมุนและส่วนประกอบแกนในรุ่นที่ ๒ ใน ๔ จังหวัดภูมิภาค (โครงการขาเทียมเพื่อชีวิตอุทิศถวายพ่อแห่งแผ่นดิน)
Medical Testing in 2nd prototype of polycrntric prosthetic knee joint and components in 4 regions (Prostheses for life dedicated to the father of the land project)
7.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงเจลเพิ่มความข้นหนืดสำหรับอาหารและเครื่องดื่มเพื่อป้องกันการสำลักในผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบาก
Development of thickening powder for food and beverage to prevent food aspiration in elderly with dysphagia
8.การสำรวจตลาดและการศึกษาความต้องการบริโภคอาหารกลืนง่ายในประเทศไทย
Market servey and study on consumer demand for easy to swallow food in Thailand
9.ผลหลากหลายมิติของการจัดการนั่งด้วยเก้าอี้ประยุกต์ต่อเด็กซีพีในประเทศไทย
Multidimensional Effects of Adaptive Seating Interventions in Children with Cerebral Palsy in Thailand
10.การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบในการเดินทางของผู้พิการที่ใช้รถเข็นที่เลือกใช้บริการรถแท็กซี่วีลแชร์
The study of Impact Factors to Disables’s travel by wheelchair vehicles with Taxi services in Bangkok Metropolitan Area
11.การพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์แท็บเล็ตสำหรับฝึกความคิดความเข้าใจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองคนไทย
Development of Application on Tablet for Cognitive Trainning in Thai Stroke Patients
12.ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจต่อแรงจูงใจในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง
The Effect to Motivation Program on Stroke Rehabilitation Motivation in Older Patients with Stroke
13.พาราโรบอท: ต้นแบบหุ่นยนต์ช่วยเดินสำหรับคนพิการอัมพาตครึ่งท่อนล่าง
Pararobot: Development of powered exoskeleton robot for lower-limb locomotion assistance
1. การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการรักษาด้วยวิธีการธาราบำบัดในผู้ป่วยภาวะข้อเข่าเสื่อม : กรณีศึกษาสถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
ECONOMIC EVALUATION OF HYDROTHERAPY FOR PATIENT WITH KNEE OSTEOARTHRITIS:A CASE STUDY OF SIRINDHORN NATIONAL MEDICAL REHABILITATION INSTITUTE
2. การศึกษาการใช้งานและความพึงพอใจในการใช้เครื่องช่วยสื่อสารทางเลือกโปรโตไทป์ 1 ในผู้ป่วย
3. การพัฒนาคู่มือชุดรายการอาหารไทยสำหรับผู้มีภาวะการกลืนลำบาก
4. ประสิทธิผลของการใช้เทคนิคกระจกบำบัดร่วมกับการฝึกกิจกรรมบำบัดต่อการฟื้นฟูรยางค์ส่วนบนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
5. ประสิทธิผลของการฝึกกิจกรรมบำบัดร่วมกับการใช้ลูกบอลบริหารมือจากยางพาราต่อการฟื้นฟูรยางค์ส่วนบน ในผู้ป่วยอัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมองและผู้ป่วยอัมพาตจากการบาดเจ็บไขสันหลัง
6. การศึกษานำร่อง เรื่อง การศึกษาเปรัยบเทียบความแตกต่างของรูปแบบการเดินของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอัมพาตครึ่งซีกจากการเดินด้วยพลาสติกดามขาร่วมกับรองเท้าสามรูปแบบ
1. การพัฒนา ICF core sets สำหรับผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ Development of ICF core sets for Individuals with traumatic brain injury
2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์การฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในสถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
3. การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
4. โครงการทดสอบข้อเข่าขาเทียมแบบสี่จุดหมุนและส่วนประกอบแกนใน รุ่นที่ 2
5. การวิจัยแบบผสมเพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของคนไทยที่บาดเจ็บไขสันหลัง
6. ประสิทธิผลของการฟื้นฟูภาวะกลืนลำบากในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยการกระตุ้นกระแสไฟฟ้า : การทบทวนอย่างเป็นระบบ
7. การศึกษาประสิทธิผลของการฝึกเดินด้วยหุ่นยนต์ฝึกเดินในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : การทบทวนอย่างเป็นระบบ
8. ธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยพาร์กินสัน : การทบทวนอย่างเป็นระบบ
9. ผลของดนตรีบำบัดในผู้ป่วยสมองพิการ : การทบทวนอย่างเป็นระบบ
1. โครงการศึกษาสถานการณ์บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ เพื่อการเข้าถึงตาม พรบ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
2. การศึกษาประสิทธิผลของการใช้ Robotic Assisted therapy ร่วมกับการฟื้นฟูทางกิจกรรมบำบัดแบบดั้งเดิมในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอัมพาตครึ่งซีก
3. การศึกษาเปรียบเทียบผลของการฝึกเดินระหว่างการฝึกเดินด้วยหุ่นยนต์ฝึกเดินกับการฝึกเดินด้วยกายภาพบำบัดแบบดั้งเดิมในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
4. การสำรวจคุณภาพชีวิตคนพิการไทย (Quality of life among Thai people with disabilities)
5. ทะเบียนโรคบาดเจ็บไขสันหลังไทย (Thai Spinal Cord Injury Registry (TSCIR) )
6. ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการกลืนในศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
7. ผลลัพธ์การรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูแบบผู้ป่วยใน การติดตาม 3 ปี
8. การพัฒนาชุดรหัสบัญชีสากล การทำงาน ความพิการและสุขภาพสำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระยะเรื้อรังฉบับภาษาไทย
9. การพัฒนาโปรแกรมการฝึกความคิดความเข้าใจสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง: ศึกษาผลที่มีต่อความสามารถด้านความคิดเข้าใจและการทำกิจวัตรประจำวัน
1. Efficacy and safety of Curcuma domestica extracts compared with ibuprofen in patients with knee osteoarthritis : a multicenter study
2. การพัฒนาฐานข้อมูลด้านประโยคที่ใช้ในการสื่อสารในผู้บกพร่องทางการพูดชนิด Dysarthria
1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออาการปวดกล้ามเนื้อจากการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์สิรินเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
2. ประสิทธิผลของการใช้เครื่องอัลตร้าซาวน์ผสมกระแสไฟฟ้าบำบัด เพื่อรักาษากลุ่มอาการปวดมัยโอฟาสเชียล ในกล้ามเนื้อแทรบปีเซียสส่วนบน : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม
ชื่อภาษาอังกฤษ : Effectiveness of Ultrasound Combine Electrical Current (TENS) in treatment of Upper Trapezius Myofascial Pain : A Randomized Controlled Trial
3. โครงการศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชนในประเทศไทย
4. การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กรณีศึกษาศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
1. ค่าคะเเนนอ้างอิงความสามารถทางภาษาและการพูดในคนไทยปกติในช่วงอายุ 15 – 24 ปี (การศึกษาเบื้องต้น)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Reference range of Language and speech in Thai young adult by using Thai Adaptation of WAB test
2. ผลของการฝึกเดินด้วยหุ่นยนต์ฝึกเดินในเด็กสมองพิการซีพี
ชื่อภาษาอังกฤษ : Efficacy of Robotic – Assisted Locomotor Treadmill Therapy on walking abilities and gait pattern in children with Cerebral palsy
3. โครงการตรวจสอบระบบการให้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ วิจัยเรื่องความซ้ำซ้อนของการได้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในระบบสุขภาพ
4. โครงการวิจัยลักษณะรถนั่งคนพิการ : ปัญหาและความต้องการของคนพิการทางการเคลื่อนไหว
5. การศึกษาประสิทธิผลและความพึงพอใจของคนพิการต่อรถนั่งคนพิการแบบ 3 ล้อ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Effectiveness of three wheel wheelchairs
6. โครงการพัฒนาข้อเข่าเทียมแบบสี่จุดหมุนและส่วนประกอบแกนในเชิงพาณิชย์เพื่อการทดสอบการใช้งานทางการแพทย์ในพื้นที่ 5 ภูมิภาค เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธ.ค.54
7. การศึกษาผลกระทบของการใช้พลาสติกดามขาแบบสั้นมีข้อเท้าร่วมกับรองเท้าดัดแปลงต่อการยืนทรงตัวในเด็กสมองพิการชนิด spastic diplegia และ contracture of the gastrocnemius muscle
ชื่อภาษาอังกฤษ : Effect of tuned Solid Ankle Foot Orthoses on standing balance in cerebral palsy children with spastic diplegia and contracture of the gastrocnemius muscle
1. ผลของการฝึกเดินในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองโดยการใช้จังหวะควบคุม
2. การศึกษานำร่อง : ผลการใช้เทคนิคกระจกบำบัดในเด็กสมองพิการชนิดเกร็ง
3. การเปรียบเทียบท่าทางการเดินในกรณีสวมรองเท้าและไม่สวมรองเท้าของคนปกติ
4. การศึกษาการทดสอบข้อเข่าเทียมแบบสี่จุดหมุนและส่วนประกอบแกนในไม่รวมฝ่าเท้า
5. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
6. ศึกษาผลของการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยเทคนิคสเตรทเลกไรซิ่ง และเทคนิคสปลิทสทวิซร่วมกับการให้ความร้อนลึกและความร้อนตื้นที่มีต่อช่วงองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
1. ผลของการฝึกเดินในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองโดยการใช้จังหวะควบคุม
2. การศึกษานำร่อง : การนำเทคนิคกระจกบำบัดมาเพิ่มความสามารถการใช้มือในเด็กสมองพิการชนิดเกร็ง
3. ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยรูปแบบ Day Care ที่ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
1. การประเมินผลโครงการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานศูนย์สาธิตอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ
2. The Development of Nursing Care System for Disabled Persons: An Actively Integrated Services in Four Regions of Thailand
1. การศึกษาอุบัติการณ์ของความพิการและผลกระทบที่เกิดขึ้นภายหลังบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางบก พ.ศ. 2549
2. เปรียบเทียบผลการฝังเข็มระหว่างการใช้จุดมากและจุดน้อยในโรคข้อเข่าเสื่อมที่ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
3. การศึกษาการใช้บัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน ความพิการ และสุขภาพเพื่อเป็นเอกสารประเมินความพิการในหลายหน่วยศึกษา
4. พัฒนา Clinical Nursing Guideline เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ
5. องค์ประกอบสมรรถนะพยาบาลฟื้นฟูสมรรถภาพ ในประเทศไทย
6. การจัดกลุ่มโรคร่วมและทางเลือกในการจ่ายเงินสำหรับการบริการผู้ป่วยในระยะกึ่งเฉียบพลันและไม่เฉียบพลันของประเทศไทย
7. Economic valuation of informal care in Asia: A case disabled stroke survivors in Thailand (การดูแลอย่างไม่เป็นทางการของผู้พิการจากโรคหลอดเลือดสมอง)
8. บัญชีเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่จำเป็นในการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวสำหรับสถานบริการสุขภาพในประเทศไทย (The Study of Essential Medical technologies for Thailand: The rehabilitation of Mobility impairment)
9. An Epidemiologic Study of the Thai Stroke Rehabilitation Registry (TSRR) : A Multi-Center Study
10. Unit Cost of Stroke Rehabilitatio
แนวทางการขอดำเนินการวิจัย
1. แนวทางการขอดำเนินการวิจัยที่สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูฯ
2. แบบฟอร์มการขอทำวิจัย (บันทึก)
3. แบบฟอร์มการขอทำวิจัย (รายละเอียด)
4. แบบฟอร์มการขอทำวิจัย (checklist)
การลงนามในสัญญาการทำวิจัย ทางคลินิกของหน่วยงานสังกัดกรมการแพทย์กับภาคเอกชน
1. มาตรการระยะสั้น
– เพื่อให้การทำวิจัยทางคลินิกที่ PReMA ให้การสนับสนุนดำเนินการต่อไปได้ ควรใช้วิธีการเดิมไปพลางก่อน คือ นักวิจัย และหรือ โรงพยาบาล/สถาบัน เป็นผู้ลงนาม
– ควรจำกัดขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ลงนาม
– ขอให้ PReMA ส่งสัญญาการทำวิจัยทางคลินิก ให้กรมการแพทย์ศึกษา
2. มาตรการระยะยาว
– กรมการแพทย์ควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการทำวิจัยที่มีบริษัทยา เป็นผู้สนับสนุนการวิจัย
– กรมการแพทย์ควรกำหนดมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติการทำวิจัยทางคลินิก และการกำกับดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐาน
– ควรมีการกำหนดสิทธิประโยชน์ร่วมกันที่ชัดเจน ระหว่าง ผู้วิจัย หน่วยงาน และผู้สนับสนุนการวิจัย
– ควรพิจารณาตั้งคณะทำงาน เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการงานวิจัยทางคลินิก
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : คุณดาวแสง ฉินทอง
E – mail : dc1887@gmail.com
โทรศัพท์ : 02-591-4242 ต่อ 6804